ศูนย์เชี่ยวชาญเทคโนโลยีเอนไซม์และการใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์
(Center of Excellence in Enzyme Technology and
Microbial Utilization)
ประเภทหน่วยวิจัย: ศูนย์เชี่ยวชาญ
หัวหน้าหน่วยวิจัย: รศ. ดร.กนก รัตนะกนกชัย
Tel: 024707760, 024707755
Email: khanok.rat@kmutt.ac.th
ศูนย์ความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยีเอนไซม์และการใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ประโยชน์จากเอนไซม์และจุลินทรีย์ต่างๆที่ได้พัฒนาขึ้น โดยมุ่งเน้นการเปลี่ยนชีวมวลจากพืชให้เป็นพลังงานทางเลือกและสารชีวภัณฑ์มูลค่าสูงต่างๆ ซึ่งสามารถนำไปใช้ในระดับอุตสาหกรรมแบบบูรณาการ
กลุ่มวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพสาหร่าย
(Algal Biotechnology Research Group)
ประเภทหน่วยวิจัย: กลุ่มวิจัย
หัวหน้าหน่วยวิจัย: รศ.บุษยา บุนนาค
Tel: 024707486
Email: boosya.bun@kmutt.ac.th
กลุ่มวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพสาหร่าย ดำเนินงานด้านการวิจัยพื้นฐานและการวิจัยประยุกต์โดยมุ่งเน้นให้เกิดการใช้ประโยชน์จากชีวมวลและผลิตภัณฑ์ชีวภาพจากสาหร่าย กลุ่มวิจัย ฯ มุ่งพัฒนาเพิ่มขีดความสามารถและสร้างความเข้มแข็งด้านการวิจัยให้มีความเป็นเลิศ โดยมีความเชี่ยวชาญของกลุ่มคือ อณูชีววิทยา สรีระวิทยา เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงสาหร่าย การสกัดและการแยกสารมูลค่าสูง และเทคโนโลยีโอมิกซ์
ศูนย์ชีววิทยาระบบทางการเกษตร
(Center for Agricultural Systems Biology)
ประเภทหน่วยวิจัย: ศูนย์วิจัย
หัวหน้าหน่วยวิจัย: รศ. ดร.ตรีนุช สายทอง
Tel:
Email: treenut.sai@kmutt.ac.th
Website: https://bml.kmutt.ac.th
สร้างองค์ความรู้และเทคโนโลยีที่จะช่วยขับเคลื่อนการปรับตัวของภาคการเกษตรของประเทศไทย จากการทำเกษตรกรรมแบบดั่งเดิมที่อาศัยทรัพยากรธรรมชาติเป็นหลัก ไปเป็นการเกษตรกรรมที่อยู่บนพื้นฐานความรู้ และข้อมูล ใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า สร้างผลผลิตที่แน่นนอน นำไปสู่การยกระดับความมั่นคงทางเศรษฐกิจของเกษตรกรไทยอย่างยั่งยืน โดยแนวทาง และยุทธศาสตร์ของการตั้งหน่วยวิจัยมีความสอดคล้องกับการเปลี่ยนผ่านประเทศสู่ การเกษตรกรรม 4.0 ตามแนวคิด BCG economy model โดยอาศัยความเชี่ยวชาญในการวิเคราะห์ข้อมูลโอมิคทางชีววิทยา (omics) บูรณาข้อมูลร่วมกันระหว่างการทำงานภายในเซลล์สิ่งมีชีวิตและแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ ให้ทราบความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางพันธุกรรม ลักษณะที่ปรากฏภายนอก และลักษณะทางสรีรวิทยา
นิเวศวิทยาการอนุรักษ์
(Conservation Ecology Program)
ประเภทหน่วยวิจัย: ศูนย์วิจัย
หัวหน้าหน่วยวิจัย: Assoc. Prof. Dr. George A. Gale
Tel: 024707555
Email: george.and@kmutt.ac.th
Website: https://cons-ecol-kmutt.weebly.com
The mission of the Conservation Ecology research unit is to achieve practical solutions to conservation problems through scientific research. The goal is to have our research used in Thailand and Southeast Asia to advise environmental policy-makers and to increase the capacity of the region’s researchers to study these problems and implement solutions.
ศูนย์วิจัยผึ้งพื้นเมืองและแมลงผสมเกสร
(Native Honeybees and Pollinators Research
Center)
ประเภทหน่วยวิจัย: ศูนย์วิจัย
หัวหน้าหน่วยวิจัย: รศ. ดร.อรวรรณ ดวงภักดี
Tel: 024709683
Email: orawan.dua@kmutt.ac.th
Website: https://www.facebook.com/nhbeekmutt/?locale=th_TH
- Honeybees and stingless bees biology
- Biological active compound in natural product
- Pollination biology
- Beekeeping
- Signals and Behavioral in Eusocial Insects
กลุ่มวิจัยเทคโนโลยีคาร์โบไฮเดรต
(Carbohydrate Technology Research Group)
ประเภทหน่วยวิจัย: กลุ่มวิจัย
หัวหน้าหน่วยวิจัย: ดร.ยุรี วันดี
Tel: 024707754
Email: yuree.wan@kmutt.ac.th
Website: https://carbohydrate.kmutt.ac.th
Facebook: https://www.facebook.com/people/Carbohydrate-Technology-Laboratory-KMUTT/100057586384735/
กลุ่มวิจัยเทคโนโลยีคาร์โบไฮเดรต มีความเชี่ยวชาญในการวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนาวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ที่มีคาร์โบไฮเดรตเป็นองค์ประกอบ โดยเฉพาะในกลุ่มสตาร์ชและฟลาวร์จากข้าวและมันสำปะหลัง การผลิตเส้นใยอาหารที่ละลายน้ำได้และโอลิโกแซคคาไรด์จากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร ตลอดจนการนำสารประกอบคาร์โบไฮเดรตเหล่านี้ไปประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์อาหาร อาหารสัตว์และชีวเคมีภัณฑ์ทางการเกษตร
กลุ่มวิจัยเทคโนโลยีไขมัน
(Lipid Technology Research Group)
ประเภทหน่วยวิจัย: กลุ่มวิจัย
หัวหน้าหน่วยวิจัย: รศ. ดร.กรณ์กนก อายุสุข
Tel: 024707758
Email: kornkanok.ary@kmutt.ac.th
Website: https://force.kmutt.ac.th/
- การสกัดและการผลิตสารสำคัญจากตัวอย่างไขมันและน้ำมัน
- อิมัลชันเทคโนโลยี สำหรับการสกัด/พัฒนาสูตรและคุณภาพ
- การวิเคราะห์กลุ่มของไขมันด้วยเทคนิคโครมาโตกราฟี
- การพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์ของโครงสร้างเคมีกับการประมาณคุณสมบัติทางกายภาพของน้ำมันและไบโอดีเซล
กลุ่มวิจัยเทคโนโลยีผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ
(Natural Products and Functional Foods
Innovation Research Group)
ประเภทหน่วยวิจัย: กลุ่มวิจัย
หัวหน้าหน่วยวิจัย: ผศ. ดร.พรพรรณ สิระมนต์
Tel: 032-7265-1013, 08-2021-6113
Email: pornpun.sir@kmutt.ac.th
- ด้านการสำรวจ การรวบรวมความหลากหลายของพืช และการคัดเลือกสายพันธุ์พืชเพื่อการนำไปใช้ประโยชน์
- ด้านการสกัดแยกสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากพืชเพื่อการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับทรัพยากรพืช และส่วนเหลือทิ้งทางการเกษตรในจังหวัดราชบุรี และภูมิภาคตะวันตก
- ด้านการตรวจวิเคราะห์เชิงคุณภาพ และฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดจากพืช
กลุ่มวิจัยเคมีซุปราโมเลกุล
(Supramolecular Chemistry Research Group)
ประเภทหน่วยวิจัย: กลุ่มวิจัย
หัวหน้าหน่วยวิจัย: ดร.กรกันยา ประทุมยศ
Tel: 0-2470-9561, 09-5073-4568
Email: kornkanya.pra@kmutt.ac.th
- Organic Synthesis
- Supramolecular Chemistry
- Molecular Encapsulation
- Fluorescence Sensor
- Drug and gene delivery
- Synthesis, purification and characterization of chemical compounds: Nuclear Magnetic Resonance (NMR) Spectroscopy, High-Resolution Mass Spectroscopy (HRMS), Matrix-assisted laser desorption/ionization-time of flight (MALDI-TOF) mass spectrometry (MS), High-performance liquid chromatography (HPLC), Gas Chromatography (GC)
- Investigation of molecular interaction (binding): Nuclear Magnetic Resonance (NMR) Spectroscopy, Isothermal Titration, X-ray Absorption Spectroscopy (XAS), Fluorescence and Absorption Spectroscopy, Gel Electrophoresis
- Characterization of self-assembly structure: Dynamic Light Scattering (DLS), Scanning Electron Microscope (SEM), Transmission Electron Microscope (TEM), Small Angle X-Ray Scattering (SAXS) และ Wide Angle, X-Ray Scattering (WAXS), Circular Dichroism (CD)
- Evaluation of cytotoxicity and transfection susceptibility into cells: Confocal Laser Scanning Microscope (CLSM), Flow Cytometry, Microplate Reader, PCR”
ห้องปฏิบัติการวิจัยนวัตกรรมยีสต์
(Excellent Research Laboratory for Yeast
Innovation)
ประเภทหน่วยวิจัย: ห้องปฏิบัติการวิจัย
หัวหน้าหน่วยวิจัย: รศ. ดร.นิษก์นิภา สุนทรกุล
Tel: 0-2470-7753, 67, 08-9610-0660
Email: nitnipa.soo@kmutt.ac.th
งานวิจัยของหน่วยวิจัยมุ่งเน้นไปที่การศึกษาชีวเคมีและอณูชีววิทยาของยีสต์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกระบวนการควบคุมการถอดรหัส ระดับจีโนมจนถึงระดับยีน โดยใช้เทคนิคทางพันธุศาสตร์ เทคโนโลยียีน และเครื่องมือระดับโมเลกุล ซึ่งถูกนำมาใช้ในการศึกษาการแสดงออกของยีนและโปรตีนเพื่อให้ได้มุมมองการควบคุมลักษณะที่ปรากฏ เกี่ยวกับกลไกการกำกับดูแลที่อยู่เบื้องหลังวิถีของเซลล์ที่สำคัญ โดยใช้ยีสต์ Saccharomyces cerevisiae เป็นแบบจำลองสิ่งมีชีวิต การแสดงลักษณะการทำงานของปัจจัย การถอดรหัสกลุ่มตัวควบคุมพันธุกรรมใหม่ และยีนเป้าหมาย นำไปสู่การประยุกต์ใช้ทางอาหาร เชื้อเพลิงชีวภาพและ ในยีสต์ชนิดอื่นต่อไป